วันจันทร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554
ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาจำหน่ายตู้พระไตรปิฎกและหนังสือพระไตรปิฎกบริการจัดส่งทั่วประเทศ โทร.086-461-8505ม081-424-0781
ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาจำหน่ายตู้พระไตรปิฎกและหนังสือพระไตรปิฎกบริการจัดส่งทั่วประเทศ โทร.086-461-8505ม081-424-0781 สามารถเข้าชมรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.trilakbooks.com
คำนำ
หนังสือพระไตรปิฎกและถรรถกถา แปล ไทย ฉบับ มหามกุฏราชวิทยาลัย
พิมพ์ ที่ มหามกุฎราชวิทยาลัย จังหวัดนครปฐม
....................................
เนื่องในวโรกาส ครบ ๒๐๐ ปี แห่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ กรุงรัตนโกสินทร์ พุทธศักราช ๒๕๒๕
มหามกุฃฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้จัดพิมพ์หนังสือพระไตรปิฎก พร้อมทั้งรถถกถา แปล เป็นภาษาไทย
โดย เรียกชื่อตามชื่อของแต่ละปิฎกว่า
"พระวินัยปิฎก และอรรถกถาแปล"
"พระสูตรและอรรถกถาแปล"
"พระอภิธรรมปิฎกและอรรถกถาแปล"
ความเป็นมาของการจัดพิมพ์ครั้งนั้น มีรายละเอียดปรากฏในราชคุณูปการานุสรณ์
และคำนำในการพิมพ์ครั้งแรก ซึ่งได้จัดพิมพ์ไว้ตอนต้นพระคัมภีร์แล้ว
ครั้นพุทธศักราช ๒๕๔๖ เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร
สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (สุวฑฺฒนมหาเถร)
องค์นายกกรรมการมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัยฯ
ทรงเจริญพระชนมายุ ๙๐ พรรษา นับเป็นมงคลวโรกาสอันสำคัญวาระหนึ่ง
ซึ่งคณะรัฐบาล ใน ฐานะผู้แทนปวงพุทธศาสนิกชนชาวไทย
ฝ่ายบรรพชิตและฝ่ายคฤหัสถ์ได้จัดงานเฉลิมฉลองขึ้น ระหว่างวันที่
๑-๗ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๔๖ ณ บริเวณวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร
การทั้งนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระมหากรุณาธิคุณ
โปรดรับไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ ยังความปลาบปลื้มยินดีแก่พุทธศาสนิกชน
และต่างน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณครั้งนี้ เป็นล้นพ้นหาที่สุดมิได้
เนื่องในวโรกาสอันสำคัญนี้ มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ได้จัดทำโครงการชำระพระไตรปิฎก และอรรถกถาแปล
ฉบับมหามกุฎราชวิทยาลัย ซึ่งได้จัดพิมพ์ขึ้น
ครั้งแรกใน วโรกาสครบ ๒๐๐ ปี
แห่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ กรุงรัตนโกสินทร์ พุทธศักราช ๒๕๒๕
เพื่อให้มีความครบถ้วนสมบูรณ์ยิ่งขึ้น และจัดพิมพ์ขึ้นใหม่
เพื่อถวายเป็นพระกุศลเฉลิมพระเกียรติแด่พระคุรสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช
สกลมหาสังฆปริณายก ในฐานะที่ทรงเป็นองค์สกลมหาสังฆปริณายก ทรงเป็นเจ้าคณะแห่งคณะธรรมยุต
และทรงเป็นนายก กรรมการมูลนิธิมหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมาภ์
โครงการชำระพระไตรปิฎก และถรรถกถาแปลในครั้งนี้
ได้เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่วันที่ ๒๓ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๔๔
โดยมูลนิธิมหามกุฎราชวิทยาลัยฯ ได้ตั้งคณะกรรมการดำเนินการขึ้นคณะหนึ่ง
ประกอบด้วยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทั้งฝ่ายบรรพชิตและคฤหัสถ์จำนวน ๑๔ ท่าน
และคณะทำงานจำนวน ๑๕ ท่าน มีพระพรหมมุนี (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต)
วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นประธานกรรมการอำนวยการโครงการฯ
การตรวจชำระครั้งนี้ ได้ดำเนินการในส่วนที่สำคัญ
คือ
๑. ตรวจทานคำแปล ภาษาไทย ของพระบาลี และอรรถกถาให้ครบ ถ้วน
ตามต้นฉบับ บาลี โดยใช้พระไตรปิฎกบาลี ฉบับสยามรัฐเป็นหลัก
๒. ข้อความในส่วนใด ที่ปรากฎชัดเจนว่า ไม่ตรงความหมายตามพระบาลี หรือตกหล่น
ก็แก้ไข และเพิ่มเติมให้ตรง ครบถ้วน ทั้งทำเชิงอรรถชี้แจงประกอบไว้เป็นที่หมาย
๓. ในส่วนอรรถกถา ซึ่งฉบับเดิมยกคำแปลบาลีเป็นบทตั้งโดย ไม่มึคำแปล
เป็นภาาไทย กำกับไว้นั้น ในการชำระครั้งนี้ ได้แก้ไขเป็นยกคำแปล ภาษาไทยเป็นบทตั้ง
และวงเล็บคำบาลี กำกับไว้ ทั้งนี้เพื่อให้สมกับเป็นฉบับแปลเป็นภาษาไทย
และเพื่อเป็นการเอื้อประโยชน์แก่ผู้อ่านที่ไม่มีความรู้ ในภาษาบาลี
จะได้อ่านและเข้าใจความหมายได้สะดวกขึ้น ส่วนคำบาลี ที่ไม่มีความหมายในเชิงธรรมะ ก็ยังคงยกคำบาลี เป็นบทตั้ง อย่างเดิม
๔.ปรับปรุงคำแปลภาษาไทยให้อ่านเข้าใจง่ายขึ้น สำหรับผุ้อ่านทั่วไป ที่ไม่มีความรู้ในภาษาบาลี
๕.จัดทำดรรชนีค้นคำและค้นเรื่อง
ของแต่ละเล่มให้ละเอียดขึ้น เพื่อสะดวกแก่การศึกษาค้นคว้า
ในการตรวจชำระครั้งนี้ คณะกรรมการตรวจชำระมีความเห็นต้องกันว่า ควรเปลี่ยนชื่อ
จากเดิม ที่เรียกว่า "พระวินัยปิฎก และอรรถกถาแปล
พระสูตรและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฎราชวิทยาลัย"
เพื่อให้สอดคล้องกับฉบับภาษาบาลีที่นิยมเรียกกันว่าพระไตรปิฎก
ฉบับ สยามรัฐ" จนเป็นที่คุ้นกันทั่วไป ส่วนจำนวนเล่มซึ่งฉบับเดิมมีจำนวน ๙๐ เล่ม เห็นควรคงไว้ตามเดิม เพราะเป็นที่รู้จักของผู้อ่านทั่วไปอยู่แล้ว
เมื่อการตรวนชำระเสร็จสิ้นตามโครงการแล้ว
คณะสงฆ์คณะธรรมยุตและมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
เห็นเป็นโอกาสอันดีที่จะได้สนองพระเดชพระคุณและเฉลิมพระเกียรติเจ้า พระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (สุวฑฺฒนมหาเถร)
ในฐานะที่ทรงเป็นองค์สกลมหาสังฆปริณายก ทรงเป็นเจ้าคณใหม่ คณะธรรมยุต และทรงเป็นองค์นายกกรรมการมหามกุฏราชวิทยาลัย
ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้จัดพิมพ์พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฎราชวิทยาลัย ซึ่งได้รับการ
ตรวจ่ชำระในครั้งนี้จำนวน ๑,๐๐๐ จบ โดยการร่วมบริจาคของมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัยฯ
และพุทธศาสนิกชน ทั่วไป น้อมเกล้า ถวายเป็นพระกุศลและถวายพระพรแด่
เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (สุวฑฺฒนมหาเถร)
สำหรับทรงประทานแจกไปไว้ตามพระอารามต่างๆ และสถานศึกษาที่สำคัญ เพื่อประโยชน์
แก่การศึกษา พระพุทธศาสนา และเผยแพร่พระพุทธศาสนาสืบไป
มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ฯ พจารณาเห็นว่า พระไตรปิฎก และอรรถกถา แปลที่ได้ตรวจชำระ
และจัดพิมพ์ขึ้นมาใหม่ในวโรกาสดังกล่าวแล้ว
เป็นสิ่งที่เป็นคุรประโยชน์ต่อการศึกษาพระพุทธศาสนา เป็นอย่างยิ่ง
สมควร ที่จะได้จัดพิมพ์เผยแพร่ให้กว้างขวาง ยิ่งขึ้น จึงได้จัดพิมพ์ขึ้นอีกส่วนหนึ่ง
สำหรับเผยแพร่แก่ประชาชนผู้สนใจทั่วไป
พระไตรปิฎก และอรรถกถาแปลฉบับนี้ ในส่วนที่จัดพิมพ์น้อมถวายแด่ เจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช จำนวน ๑,๐๐๐ เจบ
และในส่วนที่เป็นมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัยฯ
จัดพิมพ์ขึ้นสำหรับเผยแพร่แก่ประชาชนทั่วไปนั้น
มีส่วนที่แตกต่างกันอยู่บ้างเล็กน้อย
กล่าวคือ
เมื่อเล่าใดที่จัดพิมพ์เมื่อคราวงานฉลองพระชนมายุ ๙๐ พรรษานั้น
มีข้อผิดพลาดในการพิมพ์ เช่น ข้อความตกหล่น เลขหน้าสลับเป็นต้น
ในการจัดพิมพ์เพื่อเผยแพร่ครั้งนี้ จึงได้แก้ไขให้ถูกต้อง
และจัดพิมพ์เล่มนั้นขึ้นใหม่ทดแทนเล่มที่ผิดพลาดนั้น
และอีกส่วนหนึ่งที่จัดทำเพิ่มเติมในการพิมพ์เพื่อการเผยแพร่ครั้งนี้คือ เพิ่มหัวเรื่องสำหรับบางเรื่องที่ของเดิมไม่ได้ทำไว้
หรือหัวเรื่องเดิมใช้ทับคำภาษาบาลี ก็ใส่คำแปลภาษาไทยเพิ่มขึ้น
มูลนิธิมหามกุฎราชวิทยาลัยฯ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า พระไตรปิฎก และอรรถกถาแปลฉบับตรวจชำระใหม่ จักอำนวยประโยชน์แก่การศึกษา
พระพุทธศาสนา และสืบต่ออายุพระพุทธศาสนาให้ยั่งยืนสถาพรยิ่งๆ ขึ้นไป
มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย
ในพระบรมราชูปถัมภ์
วันอาทิตย์ที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554
ความเป็นมาของการจัดพิมพ์ครั้งนั้น มีรายละเอียดปรากฏในราชคุณูปการานุสรณ์และคำนำในการพิมพ์ครั้งแรก ซึ่งได้จัดพิมพ์ไว้ตอนต้นพระคัมภีร์แล้ว
คำนำหนังสือพระไตรปิฎกและถรรถกถา แปล ไทย
ฉบับ มหามกุฏราชวิทยาลัย
พิมพ์ที่ มหามกุฎราชวิทยาลัย จังหวัดนครปฐม
(ไตรลักษณ์ร่วมเผยแพร่ ในราคา ๒๕,๐๐๐ บาท ซึ่งเป็นราคาเดียวกันกับ มหามกุฎราชวิทยาลัย
โดยหวังเพียง เอากุศลเป็นกำไรที่ตั้งเท่านั้น ... แต่การจัดส่งหนังสือพระไตรปิฎก
ไปยังสถานที่ต่างๆ ทางศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ จะคิดค่าจัดส่ง
จากบริษัทขนส่ง ที่ ตั้งเอาไว้แล้วตามบริษัทขนส่งต่างๆ สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
โทร. 02-482-7358, 086-461-8505, 081-424-0781)
..............................................................................
เนื่องในวโรกาส ครบ ๒๐๐ ปี แห่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ กรุงรัตนโกสินทร์
พุทธศักราช ๒๕๒๕มหามกุฃฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ได้จัดพิมพ์หนังสือพระไตรปิฎก พร้อมทั้งรถถกถา แปล เป็นภาษาไทยโดย
เรียกชื่อตามชื่อของแต่ละปิฎกว่า
"พระวินัยปิฎก และอรรถกถาแปล"
"พระสูตรและอรรถกถาแปล"
"พระอภิธรรมปิฎกและอรรถกถาแปล"
ความเป็นมาของการจัดพิมพ์ครั้งนั้น
มีรายละเอียดปรากฏในราชคุณูปการานุสรณ์และคำนำในการพิมพ์ครั้งแรก
ซึ่งได้จัดพิมพ์ไว้ตอนต้นพระคัมภีร์แล้ว
ครั้นพุทธศักราช ๒๕๔๖ เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
(สุวฑฺฒนมหาเถร)องค์นายกกรรมการมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัยฯทรงเจริญพระชนมายุ ๙๐ พรรษา
นับเป็นมงคลวโรกาสอันสำคัญวาระหนึ่งซึ่งคณะรัฐบาล ใน ฐานะผู้แทนปวงพุทธศาสนิกชนชาวไทย
ฝ่ายบรรพชิตและฝ่ายคฤหัสถ์ได้จัดงานเฉลิมฉลองขึ้น ระหว่างวันที่๑-๗ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๔๖
ณ บริเวณวัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร
การทั้งนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระมหากรุณาธิคุณ โปรดรับไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์
ยังความปลาบปลื้มยินดีแก่พุทธศาสนิกชน
และต่างน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณครั้งนี้ เป็นล้นพ้นหาที่สุดมิได้เนื่องในวโรกาสอันสำคัญนี้
มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ได้จัดทำโครงการชำระพระไตรปิฎก
และอรรถกถาแปลฉบับมหามกุฎราชวิทยาลัย ซึ่งได้จัดพิมพ์ขึ้นครั้งแรกใน วโรกาสครบ ๒๐๐ ปี
แห่งมหาจักรีบรมราชวงศ์ กรุงรัตนโกสินทร์ พุทธศักราช ๒๕๒๕เพื่อให้มีความครบถ้วนสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
และจัดพิมพ์ขึ้นใหม่เพื่อถวายเป็นพระกุศลเฉลิมพระเกียรติแด่พระคุณสมเด็จพระญาณสังวร
สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก ในฐานะที่ทรงเป็นองค์สกลมหาสังฆปริณายก
ทรงเป็นเจ้าคณะแห่งคณะธรรมยุตและทรงเป็นนายก กรรมการมูลนิธิมหามกุฎราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์
โครงการชำระพระไตรปิฎก และถรรถกถาแปลในครั้งนี้
ได้เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่วันที่ ๒๓ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๔๔
โดยมูลนิธิมหามกุฎราชวิทยาลัยฯ ได้ตั้งคณะกรรมการดำเนินการขึ้นคณะหนึ่งประกอบด้วย
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทั้งฝ่ายบรรพชิตและคฤหัสถ์จำนวน ๑๔ ท่าน
และคณะทำงานจำนวน ๑๕ ท่าน มีพระพรหมมุนี (จุนท์ พฺรหฺมคุตฺโต)
วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นประธานกรรมการอำนวยการโครงการฯ
การตรวจชำระครั้งนี้
การตรวจชำระครั้งนี้
ได้ดำเนินการในส่วนที่สำคัญคือ
๑. ตรวจทานคำแปล ภาษาไทย
ของพระบาลี และอรรถกถาให้ครบ ถ้วนตามต้นฉบับ บาลี
โดยใช้พระไตรปิฎกบาลี ฉบับสยามรัฐเป็นหลัก
๒. ข้อความในส่วนใด ที่ปรากฎชัดเจนว่า
ไม่ตรงความหมายตามพระบาลี หรือตกหล่นก็แก้ไข
และเพิ่มเติมให้ตรง ครบถ้วน ทั้งทำเชิงอรรถชี้แจงประกอบไว้เป็นที่หมาย
๓. ในส่วนอรรถกถา ซึ่งฉบับเดิมยกคำแปลบาลีเป็นบทตั้งโดย ไม่มึคำแปลเป็นภาาไทย
กำกับไว้นั้น ในการชำระครั้งนี้ ได้แก้ไขเป็นยกคำแปล ภาษาไทยเป็นบทตั้งและวงเล็บคำบาลี กำกับไว้
ทั้งนี้เพื่อให้สมกับเป็นฉบับแปลเป็นภาษาไทยและเพื่อเป็นการเอื้อประโยชน์แก่ผู้อ่านที่ไม่มีความรู้
ในภาษาบาลีจะได้อ่านและเข้าใจความหมายได้สะดวกขึ้น ส่วนคำบาลี
ที่ไม่มีความหมายในเชิงธรรมะ ก็ยังคงยกคำบาลี เป็นบทตั้ง อย่างเดิม
๔.ปรับปรุงคำแปลภาษาไทยให้อ่านเข้าใจง่ายขึ้น สำหรับผุ้อ่านทั่วไป ที่ไม่มีความรู้ในภาษาบาลี
๕.จัดทำดรรชนีค้นคำและค้นเรื่องของแต่ละเล่มให้ละเอียดขึ้น เพื่อสะดวกแก่การศึกษาค้นคว้า
ในการตรวจชำระครั้งนี้ คณะกรรมการตรวจชำระมีความเห็นต้องกันว่า ควรเปลี่ยนชื่อจากเดิม ที่เรียกว่า
"พระวินัยปิฎก และอรรถกถาแปลพระสูตรและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฎราชวิทยาลัย"
เพื่อให้สอดคล้องกับฉบับภาษาบาลีที่นิยมเรียกกันว่าพระไตรปิฎกฉบับ สยามรัฐ"
จนเป็นที่คุ้นกันทั่วไป ส่วนจำนวนเล่มซึ่งฉบับเดิมมีจำนวน ๙๐ เล่ม
เห็นควรคงไว้ตามเดิม เพราะเป็นที่รู้จักของผู้อ่านทั่วไปอยู่แล้ว
เมื่อการตรวนชำระเสร็จสิ้นตามโครงการแล้วคณะสงฆ์คณะธรรมยุตและมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย
ในพระบรมราชูปถัมภ์เห็นเป็นโอกาสอันดีที่จะได้สนองพระเดชพระคุณ
และเฉลิมพระเกียรติเจ้า พระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (สุวฑฺฒนมหาเถร)
ในฐานะที่ทรงเป็นองค์สกลมหาสังฆปริณายก ทรงเป็นเจ้าคณใหม่
คณะธรรมยุต และทรงเป็นองค์นายกกรรมการมหามกุฏราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์
จึงได้จัดพิมพ์พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ฉบับมหามกุฎราชวิทยาลัย ซึ่งได้รับการตรวจ
ชำระในครั้งนี้จำนวน ๑,๐๐๐ จบ โดยการร่วมบริจาคของมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัยฯ
และพุทธศาสนิกชน ทั่วไป น้อมเกล้า ถวายเป็นพระกุศลและถวายพระพรแด่
เจ้าพระคุณสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (สุวฑฺฒนมหาเถร)
สำหรับทรงประทานแจกไปไว้ตามพระอารามต่างๆ และสถานศึกษาที่สำคัญ เพื่อประโยชน์แก่การศึกษา
พระพุทธศาสนา และเผยแพร่พระพุทธศาสนาสืบไป
มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ฯ พิจารณาเห็นว่า
พระไตรปิฎก และอรรถกถา แปลที่ได้ตรวจชำระ
และ จัดพิมพ์ขึ้นมาใหม่ในวโรกาสดังกล่าวแล้วเป็นสิ่งที่เป็นคุรประโยชน์ต่อการศึกษาพระพุทธศาสนา
เป็นอย่างยิ่งสมควร ที่จะได้จัดพิมพ์เผยแพร่ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น
จึงได้จัดพิมพ์ขึ้นอีกส่วนหนึ่งสำหรับเผยแพร่แก่ประชาชนผู้สนใจทั่วไป
พระไตรปิฎก และอรรถกถาแปลฉบับนี้ ในส่วนที่จัดพิมพ์น้อมถวายแด่
เจ้าพระคุณสมเด็จพระสังฆราช จำนวน ๑,๐๐๐ เจบและในส่วนที่เป็นมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัยฯ
จัดพิมพ์ขึ้นสำหรับเผยแพร่แก่ประชาชนทั่วไปนั้นมีส่วนที่แตกต่างกันอยู่บ้างเล็กน้อย
กล่าวคือเมื่อเล่าใดที่จัดพิมพ์เมื่อคราวงานฉลองพระชนมายุ ๙๐ พรรษา
นั้นมีข้อผิดพลาดในการพิมพ์ เช่น ข้อความตกหล่น เลขหน้าสลับเป็นต้น
ในการจัดพิมพ์เพื่อเผยแพร่ครั้งนี้ จึงได้แก้ไขให้ถูกต้องและจัดพิมพ์เล่มนั้น
ขึ้นใหม่ทดแทนเล่มที่ผิดพลาดนั้น
และอีกส่วนหนึ่งที่จัดทำเพิ่มเติมในการพิมพ์เพื่อการเผยแพร่ครั้งนี้คือ
เพิ่มหัวเรื่องสำหรับบางเรื่องที่ของเดิมไม่ได้ทำไว้หรือหัวเรื่องเดิม
ใช้ทับคำภาษาบาลี ก็ใส่คำแปลภาษาไทยเพิ่มขึ้น
มูลนิธิมหามกุฎราชวิทยาลัยฯ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า พระไตรปิฎก
และอรรถกถาแปลฉบับตรวจชำระใหม่ จักอำนวยประโยชน์
แก่การศึกษาพระพุทธศาสนา
และสืบต่ออายุพระพุทธศาสนาให้ยั่งยืนสถาพรยิ่งๆ ขึ้นไป
มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์
...............................
รายชื่อหนังสือโดยละเอียดจากพระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล 91 เล่ม
ฉบับครบ 200 ปี แห่งราชวงศ์จักรี กรุงรัตนโกสินทร์มูลนิธิมหามกุฎราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ที่ | รายการ | ราคา ปกแข็ง |
1 | พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม 1 ภาค 1 | |
2 | พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม 1 ภาค 2 | |
3 | พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม 1 ภาค 3 | |
4 | พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม 2 | |
5 | พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ เล่ม 3 | |
6 | พระวินัยปิฎก มหาวรรค เล่ม 4 ภาค 1 | |
7 | พระวินัยปิฎก มหาวรรค เล่ม 5 ภาค 2 | |
8 | พระวินัยปิฎก จุลวรรค เล่ม 6 ภาค 1 | |
9 | พระวินัยปิฎก จุลวรรค เล่ม 7 ภาค 2 | |
10 | พระวินัยปิฎก ปริวาร เล่ม 8 | |
รวม 10 เล่ม | ||
11 | พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ลีลขันธวรรค เล่ม 1 ภาค 1 | |
12 | พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ลีลขันธวรรค เล่ม 1 ภาค 2 | |
13 | พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค เล่ม 2 ภาค 1 | |
14 | พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค เล่ม 2 ภาค 2 | |
15 | พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฎิกวรรค เล่ม 3 ภาค 1 | |
16 | พระสุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฎิกวรรค เล่ม 3 ภาค 2 | |
รวม 6 เล่ม | ||
17 | พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่ม 1 ภาค 1 | |
18 | พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่ม 1 ภาค 2 | |
19 | พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่ม 1 ภาค 3 | |
20 | พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ เล่ม 2 ภาค 1 | |
21 | พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ เล่ม 2 ภาค 2 | |
22 | พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 1 | |
23 | พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ เล่ม 3 ภาค 2 | |
รวม 7 เล่ม | ||
24 | พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เล่ม 1 ภาค 1 | |
25 | พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค เล่ม 1 ภาค 2 | |
26 | พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย นิทานวรรค เล่ม 2 | |
27 | พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค เล่ม 3 | |
28 | พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค เล่ม 4 ภาค 1 | |
29 | พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค เล่ม 4 ภาค 2 | |
30 | พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค เล่ม 5 ภาค 1 | |
31 | พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค เล่ม 5 ภาค 2 | |
รวม 8 เล่ม | ||
32 | พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกนิบาต เล่ม 1 ภาค 1 | |
33 | พระสุตตันตปิฎก เอกนิบาต - ทุกนิบาต เล่ม 1 ภาค 2 | |
34 | พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต เล่ม 1 ภาค 3 | |
35 | พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกนิบาต เล่ม 2 | |
36 | พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจก- ฉักกนิบาต เล่ม 3 | |
37 | พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตก - อัฏฐาก - นวกนิบาต เล่ม 4 | |
38 | พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสก - เอกาทสกนิบาต เล่ม 5 | |
รวม 7 เล่ม | ||
39 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ เล่ม 1 ภาค 1 | |
40 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม 1 ภาค 2 ตอน 1 | |
41 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม 1 ภาค 2 ตอน 2 | |
42 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม 1 ภาค 2 ตอน 3 | |
43 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท เล่ม 1 ภาค 2 ตอน 4 | |
44 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อุทาน เล่ม 1 ภาค 3 | |
45 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อิติวุตตก เล่ม 1 ภาค 4 | |
46 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เล่ม 1 ภาค 5 | |
47 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย สุตตนิบาต เล่ม 1 ภาค 6 | |
48 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย วิมานวัตถุ เล่ม 2 ภาค 1 | |
49 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เปตวัตถุ เล่ม 2 ภาค 2 | |
50 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม 2 ภาค 3 ตอน 1 | |
51 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม 2 ภาค 3 ตอน 2 | |
52 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม 2 ภาค 3 ตอน 3 | |
53 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม 2 ภาค 3 ตอน 4 | |
54 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรีคาถา เล่ม 2 ภาค 4 | |
55 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม 3 ภาค 1 | |
56 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เอกนิบาตชาดก เล่ม 3 ภาค 2 | |
57 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก เล่ม 3 ภาค 3 | |
58 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม 3 ภาค 4 | |
59 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม 3 ภาค 5 | |
60 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม 3 ภาค 6 | |
61 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม 3 ภาค 7 | |
62 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม 4 ภาค 1 | |
63 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม 4 ภาค 2 | |
64 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ชาดก เล่ม 4 ภาค 3 | |
65 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส เล่ม 5 ภาค 1 | |
66 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มหานิทเทส เล่ม 5 ภาค 2 | |
67 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย จุฬนิทเทส เล่ม 6 | |
68 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฎิสัมภิทามรรค เล่ม 7 ภาค 1 | |
69 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย ปฎิสัมภิทามรรค เล่ม 7 ภาค 2 | |
70 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน เล่ม 8 ภาค 1 | |
71 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน เล่ม 8 ภาค 2 | |
72 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย อปทาน เล่ม 9 ภาค 1 | |
73 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย พุทธวงศ์ เล่ม 9 ภาค 2 | |
74 | พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย จริยาปิฎก เล่ม 9 ภาค 3 | |
รวม 36 เล่ม | ||
75 | พระอภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณี เล่ม 1 ภาค 1 | |
76 | พระอภิธรรมปิฎก ธรรมสังคณี เล่ม 1 ภาค 2 | |
77 | พระอภิธรรมปิฎก วิภุงค์ เล่ม 2 ภาค 1 | |
78 | พระอภิธรรมปิฎก วิภุงค์ เล่ม 2 ภาค 2 | |
79 | พระอภิธรรมปิฎก ธาตุกถา - บุคคลบัญญัติ เล่ม 3 | |
80 | พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ เล่ม 4 ภาค 1 | |
81 | พระอภิธรรมปิฎก กถาวัตถุ เล่ม 4 ภาค 2 | |
82 | พระอภิธรรมปิฎก ยมก เล่ม 5 ภาค 1 ตอน 1 | |
83 | พระอภิธรรมปิฎก ยมก เล่ม 5 ภาค 1 ตอน 2 | |
84 | พระอภิธรรมปิฎก ยมก เล่ม 6 ภาค 2 | |
85 | พระอภิธรรมปิฎก ปัฎฐาน เล่ม 7 ภาค 1 | |
86 | พระอภิธรรมปิฎก ปัฎฐาน เล่ม 7 ภาค 2 | |
87 | พระอภิธรรมปิฎก ปัฎฐาน เล่ม 7 ภาค 3 | |
88 | พระอภิธรรมปิฎก ปัฎฐาน เล่ม 7 ภาค 4 | |
89 | พระอภิธรรมปิฎก ปัฎฐาน เล่ม 7 ภาค 5 | |
90 | พระอภิธรรมปิฎก ปัฎฐาน เล่ม 7 ภาค 6 | |
91 | พระอภิธรรมปิฎก ปัฎฐาน เล่ม 7 ภาค 7 | |
รวม 17 เล่ม |
จำหน่ายยกชุด 91 เล่ม เป็นเงินทั้งสิ้น | 25,000.- บาท (คิดเฉพาะค่าหนังสือยังไม่รวมค่าจัดส่ง) |
ข้อมูลอ้างอิงค์ ราคาจริงจาก มหามกุฎราชวิทยาลัย ...
....................................................................................................
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)